การตั้งค่า Application Ezyexpense

1.Download application ชื่อ ezyexpense จาก play store หรือ App Store 2. เมื่อโหลด application ได้แล้วให้กดเข้าที่ตัว application จากนั้นกด Set up 3. ใส่ Company name > จากนั้นใส่ server url > เมื่อใส่ครบแล้วให้กด Submitหมายเหตุ: หาก Database ที่ใช้เป็น Cloud ให้ใส่ server url ดังรูปที่ 1หาก Database ที่ใช้เป็น Pro ให้ใส่ server url ดังรูปที่ 2 4. กลับไปหน้า Login และใส่ User Password ที่ต้องการ > จากนั้นกด […]

Read More

การตั้งค่า Flexible time

Q: หากมีพนักงานบางท่านที่เราไม่สนใจเรื่องเวลาเข้างานของเขา ไม่สนใจมาสาย ไม่สนใจขาดงานสามารถตั้งค่าในระบบได้หรือไม่ A: สามารถตั้งค่าให้พนักงานได้ค่ะ เป็นการตั้งค่าแบบรายบุคคล วิธีการตั้งค่าและความหมายของการใส่ค่า Config แต่ละตัวมีดังนี้ค่ะ 1.ไปที่ Human Resource > Staff Detail > Search หาชื่อพนักงานที่ต้องการ > กดปุ่ม Edit หลังชื่อพนักงาน 2. เลือก Flexible Time เป็น Yes > จากนั้นกำหนด No late Calculation > จากนั้นกด Submit หมายเหตุ: การตั้งค่า Flexible TimeYes = ไม่สนใจเวลาเข้าออกงาน ขอให้ทำงานครบ 8 ชั่วโมงตามที่ตั้งค่าไว้ใน Config ของ Working Hours การตั้งค่าเงื่อนไข No late calculationYes = […]

Read More

วิธีการกดคำนวณพักร้อน

1.ไปที่ Eleave > Leave Type > จากนั้นกด Annual Leave Config 2. เลือกที่ Calcalate Staff Leave Quota เพื่อคำนวณพักร้อนตามอายุงานให้กับพนักงานบางคน 3. กดเลือก Calculate All Leave Quota เพื่อคำนวณพักร้อนตามอายุงานให้กับพนักงานทุกคน

Read More

สูตรคำนวณ (Service Year)

สูตรคำนวณอายุงานใน Service Year Report วิธีคิดมีดังนี้ นำตัวเลขอายุงานที่ได้จากรีพอร์ทออกมาทอนค่าของตัวเลข ตัวอย่างเช่นอายุงาน 0.56 ปีหากอยากทราบว่า 0.56 ปี คือกี่เดือน 0.56*12 = 6.72 เดือนหากอยากทราบว่า 0.72 เดือน เท่ากับกี่วัน 0.72*30 = 21.60 วันหากอยากทราบว่า 0.60 วัน เท่ากับกี่ชั่วโมง 0.60*8 = 4.80 ชั่วโมงหากอยากทราบว่า 0.80 ชั่วโมงเท่ากับกี่นาที 0.80*60 = 48 นาที ดังนั้นอายุงาน 0.56 ปี เท่ากับ 6 เดือน 21 วัน 4 ชั่วโมง 48 นาที

Read More

การผ่านปี

การสร้างงวดภาษีใหม่ คำนวณเงินเดือน > สร้างงวดการจ่ายใหม่ จากนั้นสร้างปีถัดไป ใส่เป็น ค.ศ. การยกยอดรายการเงินได้เงินหักไปตั้งต้นปีถัดไป คำนวณเงินเดือน > ข้อมูลเพย์สลิป > คัดลอกเงินได้เงินหักไปปีถัดไป เลือกงวดต้นทาง คืองวดสุดท้ายของปีที่แล้วที่เราต้องการคัดลอกเป็นต้นแบบ จากนั้นใส่เลือกปี คือปีที่ต้องการยกไป จากนั้นเลือกประเภทเงินได้เงินหักที่จะทำการยกไปโดยคลิกเครื่องหมายถูกด้านหน้าประเภทที่ต้องการคัดลอก ซึ่งควรเป็นเงินได้ที่มีการจ่ายประจำและคงที่ เช่น เงินเดือน ค่าตำแหน่ง สวัสดิการบางอย่างเช่น ค่าโทรศัพท์ ค่าน้ำมัน หรืออื่นๆ ที่จ่ายเท่ากันทุกๆ เดือน งวดต้นทาง:                                     งวดการจ่ายต้นทางเลือกปี :                                          ปีที่ต้องการรับค่า เลือกประเภทเงินได้เงินหัก:                เลือกประเภทการจ่ายหรือหักที่ต้องการ การยกยอดรายการค่าลดหย่อนไปปี ถัดไป

Read More

*คู่มือการคำนวณพักร้อน

การคำนวณพักร้อนในระบบ ณ ปัจจุบันจะคำนวณได้ 2 แบบ ได้แก่ 1. ปีแรกพนักงานสามารถใช้พักร้อนได้เลย เงื่อนไขวันลาพักร้อนเพิ่มตามอายุงาน 1 ปี ได้ 6 วัน 2 ปี ได้ 7 วัน 3 ปี ได้ 8 วัน 4 ปี ได้ 9 วัน 5 ปี ได้ 9 วัน คำอธิบาย เหล่าหวัง เข้างานวันที่ 2019-05-23 ระบบจำคำนวณจำนวณวันพักร้อนให้กับพักงานท่านนี้ใช้ได้ดังนี้ (ระบบจะนับเฉพาะเดือนที่พนักงานเข้าทำงานเต็มเดือนเท่านั้น) 0 ปี พนักงานจะได้รับพักร้อน = ((6/12)*7) = 3.5 วัน 1 ปี พนักงานจะได้รับพักร้อน = ((6/12)*5 + ((7/12)*7) […]

Read More